วันพุธที่ 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

my goal : การฟังสารคดี 2

my goal : การฟังสารคดี 2

1. ฟัง 5 รอบ จดช็อตโน้ตแล้วนำมาเรียบเรียง


トッピック2


「多文化時代」
 
    多文化の時代ということでお話しいたします。最近日本で近代化論についてお話する人が少なくなっています。今日はまず、日本で近代化とは何か、近代化しているか、西欧化しているか、それとも、同じなのか?ということを進めていきたいと思います。1.ご損じしているように日本は明治以降西欧の近代文明を取り入れました。ただ明治時代 2.「わこんようざい」と言いまして西欧文化を取り入れても、心は日本人というように3.武士道的のほうげん的ども言える制度を残していた。そうすることで、日本の民族性を保とうとしたかもしれません。戦後は技術的な面だけではなく、日常生活にも近代化、西欧化が進んできました。
    70-80年代にかけて、経済成長続ける中で4.アイデンテティの危機とか5.喪失の問題が起きた。つまり、自分のアイデンテティ、日本人は一体何か、日本のアイデンテティをもとめる風潮が出てきた。ところで、近代化論の一つに日本や6.中近東を含むアジア諸国西欧を西欧から一方ツウホウを遅れた段階にいきづける見方もあります。西欧をモデルにして、その後を追い見方、近代化出すするのだ。でも近代化から西欧化になることを意味にするではない、西欧と同じではなく、多様である、こういう見方もあります。西洋文明内部のことでは7.さまざまなようすがあるが、全体的には同質的です。一方東洋文明にはそう簡単にはひとくくりすることができない、宗教、イスラム、仏教、クリス教......非常に多様で異質的なもの含んでいます。
    90年代になって、あっちこっち地域紛争が起きると、互いに衝突せざることを得ないと考えられた。冷戦体制崩れてアイデオロギーによって文明の異質性を押さえることができない、紛争はその結果であろうというわけなんです。同質的な西欧社会からすると、8.異なる文明の共存には協力なせんさいしはいが必要だという事。でも、アジアの多くの国では異質的な文化が日常生活に混在しているわけですから、それはどうも単純過ぎるように思うんですね。
   90年代にはグロボール化急速に進んで、経済面と科学面を結び付くようになりました。さらに、交通通信も発達して国の国境を越える事が簡単にできて、国外のできごともすぐ伝わった。異文化接触間が増えて、つまりグロボール化の進行とともに文化間の争いしやすい状況になっているではないかと思うですね。人間は自分とことなる他者に触れて、自己意識するようになる。自分と同質文化と同時に親近感を抱く、時に敵対するというわけです。異質文化を同時にエキゾチックの魅力も感じます。自分の文化をさらに豊にする。こういった多分かのプラス面にも生かしてには私たちの課題だと思います。

ขั้นตอนในการทำ

  • ฟัง 5 รอบโดยรอบแรกฟังเฉยๆเพื่อทำความเข้าใจเนื้อหาโดยรวมว่าเขาพูดถึงเรื่องอะไร
  • เริ่มจดช็อตโน้ตตามในรอบที่ 2-5 
  • ฟังแต่ละรอบรวดเดียวโดยไม่มีการหยุดเพื่อฟังใหม่
  • แต่ละรอบมีความยาวประมาณ 5 นาที  
  • ไม่จำกัดเวลาในการเรียบเรียง หรือเตรียมความพร้อมเพื่อฟัง
  • เนื้อหาเป็น unseen unheard 
目的
   การฟังในรอบนี้เป็นการฟังเพื่อจับใจความโดยรวมเป็นภาษาญี่ปุ่น ซึ่งต่างจากครั้งที่แล้วตรงที่ฟังเพื่อทำความเข้าใจเนื้อหาจริงๆ ไม่ได้ฟังแล้วแกะคำพูดคำต่อคำเหมือนที่ผ่านมา
ซึ่งเป็นเรื่องที่ยากมากกกกกกกกก ยากกว่าฟังแล้วมานั่งแกะคำว่าเขาพูดว่าอะไร ได้ยินถูกมั้ยเฉยๆ
เป็นการฝึกการวิเคราะห์ เรียบเรียง และคาดเดาเนื้อหาจากความรู้เดิมที่มีอยู่ เพื่อสามารถนำไปใช้ในการทำงานได้ในอนาคต เช่นการฟังและจดรายงานการประชุมในบริษัท หรือ เลกเชอร์ต่างๆ ในภาษาญี่ปุ่น 

自己評価

      ฟังรอบแรก แพนิค มากกกค่ะ พยายามจะจดแล้วจดไม่ถูกเลยทีเดียวเลยต้องนั่งฟังเฉยๆ อย่างใจเย็น แล้วพยายามฟังเฉพาะส่วนที่เป็นเนื้อหา รอบที่ 2 เริ่มจด แต่ก็ได้แค่บางช่วง ได้แต่คำเชื่อมต่างๆเล็กๆน้อยๆ เว้นว่างประโยคยาวๆไว้เยอะมากค่ะ จนรอบที่ 3 4 5 ถึงค่อยมาเติมเต็มช่องว่างเหล่านั้น ซึ่งบางช่วงก็ไม่สามารถจับใจความได้เลย เนื่องจากอาจจะเป็นเพราะศัพท์ที่ไม่เคยได้ยินมาก่อนด้วย และฟังไม่ทัน แถมเมื่อยังต้อจดอีกก็ไปกันใหญ่เลยค่ะ 
      ปัญหาเวลาจดก็คือเนื่องจากความรู้คันจิไม่เพียงพอจึงเสียเวลาการจดเป็นฮืรางานะเสียส่วนใหญ่ เมื่อเทียบกับถ้าต้องทำแบบนี้เป็นภาษาอังกฤษ ภาษาอังกฤษง่ายกว่ากันเยอะเลยค่ะ
    แต่โดยรวมก็พอใจมากค่ะ ที่เพียง 5 รอบเราสามารถจับใจความได้ขนาดนี้แม้จะตกหล่นคำศัพท์ต่างๆไปบ้าง เนื่องจากความไม่คุ้นชินกับการฟังเรื่องๆยากๆทำให้ตกใจเเล้วจดไม่ทัน ทั้งๆที่คำเหล่านั้นบางคำก็ง่ายๆและรู้อยู่แล้ว 

check ตรวจสอบส่วนที่ผิด 

1. ご損じしているように ー> ご存じのように

 **ฟังตัว ぞเป็นそ ซึ่งคำนี้เคยเรียนมาอยู่แล้วทั้งๆที่น่าจะรู้ แต่ก็ยังฟังผิดอยู่ ทำให้คันจิผิดไปด้วยเลยทีเดียวเป็นคนละความหมาย
  ** ไวยากรณ์ยังผิด จากนามก็ทำผิดเป็นกิริยา อ่อนด้อยมากๆเลยนะคะนี่

2.  「わこんようざい」ー> 「和魂洋才」
 ** อุ๊ย ดูเลิศหรู ไม่เคยได้ยินมาก่อนค่ะคำนี้ แปลว่า  การรับเอาเทคโนโลยีตะวันตกเข้ามาแต่ปรับให้ความสำคัญกับจิตวิญญาณความเป็นญี่ปุ่นเดิมด้วย

3. 武士道的のほうげん的  -> 武士道的、封建的

** 封建?! คือ ระบบฟิวดัล นั่นเอง ไม่รู้มาก่อนเลย

4. アイデンテティ ー>アイデンティティ!!
*** สะกดคาตาคานะ เป็นเรื่องที่ควรระวังยิ่ง

5.喪失 = สูญเสีย

*** คำนี้เนื่องจากไม่เคยได้ยินได้ฟังเลยข้ามไปเลยเสียเฉยๆ

6. .........アジア諸国西欧を西欧から一方ツウホウを遅れた段階にいきづける見方もあります。ー> 「中近東と含むアジア諸国西欧を西欧から一歩数歩遅れた段階に位置づける見方があります」

*** - 中近東 คือ ใกล้แถวตะวันออกกลาง คำนี้ไม่เคยได้ยินเลยทิ้งไป แต่ก็คงไม่สำคัญมากนัก
      -  一歩 ฟังเป็น 一方 ได้อย่างไรกัน การฟังภาษาญี่ปุ่นนี่ยากกว่าที่คิด เวลาฟังคนญี่ปุ่นพูดมีตัว うหรือไม่นั้นเป็นอะไรที่แยกออกได้ยากสำหรับตัวข้าพเจ้าเอง 
      - 数歩(すうほ)ก็ฟังเป็น つうほう?! ผิดอย่างร้ายเเรง พบว่าตัวเองยังไม่สามารถแยกออกได้ระหว่างเสียง すและ つยิ้งถ้าอยู่ในคำศัพท์ที่ไม่เคยได้ยินมาก่อนนี่ ยิ่งมั่วเลยค่ะ

     - ยังมี いちづける ฟังเป็น いきづける?! โห ไม่รู้ว่าเพื่อนๆจะฟังผิดอย่างนี้กันบ้างหรือเปล่า

7.さまざまなようそ ฟังเป็น ようす ー_ー”

8.突せざることを得ないと考えられた ー> 衝突せざるを得ないんだと考えられるようになりました。 

9.共存には協力なせんさいしはいが必要だという事 ー> 共存には強力な専制的支配が必要だという事。


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น