วันจันทร์ที่ 28 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

Final : My Evaluation

มาดู จุดมุ่งหมายของงานที่ได้ทำมาทั้งหมดนี่เลยกันก่อนนะคะ


My goal

จุดประสงค์ในการเรียนรายวิชานี้ 学習目標
  • พัฒนาทักษะการฟัง และเพิ่มคำศัพท์ให้เพิ่มมากขึ้น คำศัพท์ที่ใช้ในชีวิตประจำวัน รวมไปถึงศัพท์แสลงแปลกๆที่กำลังเป็นที่นิยม ทำให้สามารถใช้ภาษาญี่ปุ่นให้ได้เป็นธรรมชาติ ลื่่นไหลมากขึ้น  และสามารถฟังได้อย่างเข้าใจมีประสิทธิภาพมากขึ้นอย่างเช่น เวลาฟังคนญี่ปุ่นอธิบายเรื่องยาวๆ และเป็นเรื่องที่ไม่คุ้นเคย จากที่เคยต้องถามซ้ำหรือฟังหลายๆรอบกว่าจะเข้าใจ เพราะไม่รู้คำศัพท์และไม่ชิน พัฒนาให้ฟังรวดเดียวเข้าใจได้เลยไม่ว่าจะเป็นคำศัพท์แปลกๆที่ไม่ค้นเคย หรือ คำศัพท์แสลงที่เข้าใจเฉพาะคนญี่ปุ่น

My Evaluation

  • จากการที่ได้ทำงานในครั้งนี้ก็ต้องขออภัยอาจารย์ที่มีข้อผิดพลาดอยู่หลายประการเช่นไม่สามารถใส่ไฟล์เสียงลงไปได้ เนื่องด้วยความซับซ้อนทางเทคโนโลยีีทีมิโทะนะไม่สามารถเข้าถึงได้ค่ะ แต่ก็ได้ลองทำตามที่อาจารย์แนะนำบางปะการ
  • กว่าจะเริ่มเข้ารูปเข้ารอบก็ใช้เวลาคิดนานมากค่ะว่าจะทำอย่างไรดี ทำให้อาจจะเริ่มต้นช้าไปบ้าง
  • ในเรื่องการเพิ่มศัพท์ให้มากขึ้นนั้น ก้เพิ่มได้จริงๆค่ะ รวมทั้งหมดแล้วก็ประมาณ 50 คำได้ค่ะ นี่คือแค่ศัพท์ที่ได้จากการฟังหรือ input แต่ศัพท์ที่สามารถนำไป output ได้จริงๆอาจจะมีจำนวนน้อยกว่านั้นค่ะ จะเห็นได้จากการนำมาใช้ในแบบฝึกหัด ทั้งหลายที่ได้ทำมาใน output 
  • เรื่องศัพท์แสลงอาจจะไม่ได้มากนักแต่ก็มีบ้าง ส่วนใหญ่จะเป็นคำทัพศัพท์เสียมากกว่่า จากการทำงานครั้งนี้ทำให้มี 自覚 ที่จะเขียนคำทัพศัพท์คาตาคานะให้ถูกต้องมากยิ่งขึ้น
  • ตอนแรกก็ไม่คิดว่าตัวเองจะสามารถฟังเรื่องที่มีเนื้อหาทางวิชาการได้ ถึงแม้ว่าจะต้องฟังถึง 5 รอบก็ตาม แต่ก็ทำให้คิดว่า เออ เราก็พอมีความสามารถอยู่บ้าง เพียงแต่ต้องลองลงมือทำจริงๆเท่านั้น การจะเริ่มฟังแต่ละทีนี่ต้องทำใจมากทีเดียวค่ะ เพราะความกังวลว่า เคราวนี้เราจะฟังออกมั้ยนะ ตื่นเต้นมากค่ะ แต่พอจบรอบที่ 5 แต่ละครั้ง ก็พอใจในตัวเองค่ะ โหห เราทำได้นะเนี่ย เผลอๆทำได้มากกว่าวิชาภาษาอังกฤษที่ทำแบบเดียวกันนี้ซะอีก เพราะรู้สึกว่าฟังได้เป๊ะมากกว่า 
  • การฟังแบบนี้เป็นการสร้างความเคยชินให้กับตัวเองในการฟังภาษาญี่ปุ่นที่ไม่ค่อยได้มีโอกาสสัมผัสเท่าใดนัก ในชีวิตประจำวันของนักเรียนไทยอย่างเราๆ 
  • สิ่งที่ได้แถมมาคือการฝึกการเรียบเรียงเนื้อหาจากการฟัง อันนี้ไม่ได้คาดไว้เลยค่ะ เพราะตอนแรกกะว่าจะฝึกฟังแล้วเขียนตามแบบเป๊ะ แต่ปรากฏว่าไม่ได้ เพราะยังไงก็ไม่มีทางฟังได้หมดอยู่เเล้ว จึงต้องมีการฝึกสร้างเนื้อหา รูปประโยคที่ใกล้เคียงด้วย


   สุดท้ายนี้ ก็ขอบคุณอาจารย์ที่ได้ผลักดันให้ข้าพเจ้าได้เกิดแรงกระตุ้น ที่จะพัฒนาการเรียนภาษาญี่ปุ่นด้วยตัวเอง อย่างที่ไม่เคยทำในวิชาอื่นๆมาก่อน ขอยอมรับว่า หินกว่าวิชาอื่นๆที่สอบปลายภาครวดเดียวจบจริงๆค่ะ 











My goal : output การฟังสารคดีครั้งที่ 5

内容理解ためのポイント
1. インドの人口問題の現状と人口政策についてまとめなさい。
(1)1970年代から今日までの人口政策
 インドは、国連により、人口問題の解決難しい地域のAランクに指定されている。
 そのため、1970年代半ばにインデラガンディ首相が次男のサンシャイガンディ氏とともに、人口抑制のために不妊手術を強制的に普及させようとしたが、各地で非常に激しい抗議のデモが起きた。そのあとガンディが総選挙で惨敗して以来、人口抑制を政策として口にするようなことはタブーになった。
(2)最近の状況
 都会では、男性は簡単な避妊手術するようになって、人口が減ってきている、ただし、全体的には、まだ減っていない。若者は、IT関連で頑張っていて、国内総生産を高めているのだが、もし、政府の貧困対策や地方の振興政策が十分効果があげなければ、結局は大量の失業者が出るという状況である。

2. 中国の人口問題の現状と人口政策についてまとめなさい。
(1) 1979年の一人っ子政策の結果
 中国の人口は、一人っ子政策以来、徐々に減ってきている、2050年には0成長になるんじゃないかと予測されている。
(2)最近の状況
 都市部で、子供を生まない夫婦が増えてきている。大企業や官庁は老後の保証があるからである
 都市以外では、違反してでも老後の世話を期待出来る男の子ができるまで生むことは珍しくはない。老後の保証がないからである。
 ただし、全体的には、少子高齢化社会に進んでいる


*** สีแดงคือคำตอบ
*** สีน้ำเงินคือศัพท์ที่ได้นำกลับมาใช้จากการเรียนรู้ครั้งที่แล้ว

My Goal : การฟังสารคดีครั้งที่ 5

人口大国の政策課題

(司会(男)は南城大学人口問題研究所研究員、ラトナムさん(男)と王さん(女)は人口問題専門家。)
อันนี้เป็นบทสนทนาของคนสามคนต่อเนื่องจากเรื่องที่ฟังครั้งที่แล้วเกี่ยวกับปัญหาจำนวนประชากรในที่ต่างๆ แทบตายค่ะ ต้องมานั่งแยกเสียงงอีก เสียงใครเป็นเสียงใคร

司会 : 地球の人口は現在65億人、2050年には89億人。もし途上国の人口増加が減速しないと、93億人に達すると言われています。今日はインドと中国の人口問題専門家でいらっしゃいます。ラトナムさんと王さんがお越しいただいています。それぞれの国の現状と将来について伺いしたいと思います。それでは、まず、ラトナムさんからインドの現状についてお話ねがいます。
ラトナム:国連では人口問題の解決難しい地域を混乱度に応じて、A B C とランクわけしています。私どものくにはやはり、A地域に指定されています。
司会:確かに、インディラー1.ガンディ首相が以前2.人口抑制に積極的に取り組んでましたよね。
ラトナム : ええ、1970年代3.半ばのことですね。次男のサンチャイガンディ氏が4.先頭に立って、家族計画の5.推進員6.ノルマを貸して、とにかくもう7.赴任手術強制的に普及させようとしたです。各地で激しいデモが起りました。
司会 : 確かに、ガンディがその後総選挙で惨敗してしまいましたね。それ以来人口抑制策を口にするのはタブーになってしまった。
ラトナム : ええ、とにかく、インドは8.ヒンズー教頭が7か8割占めているから。木の枝が自然と垂れ下がるようにっていうか。人為的に力を加えて、おってしまう。なかなか成功しないですよね。
司会 : 自然のままにってことですね。その点では中国がいかがでしょうか?
王 : 中国もまだ現在第一の人口大国ですから、いろいろな大きな問題を抱えています。79年代に一人っ子政策取りまして、それ以来徐々に減ってきています。私どもの予測では2050年には0成長になりかねないと見ています。
ラトナム : その辺がインドと大きく違っているとこですね。
王 : ただ最近一人っ子政策関係なく、都市部では子供生まない夫婦が増えてきています。都市部の大きい企業や官庁老後保障がありますから。二人だけで快適な暮らしをおくりたい
司会 : というと保証がないひとは
王 : 家族に頼るか一緒に働きつづけるしかないので、老後の世話を期待できる男の子が欲しくて、違反しても珍しくない。
ラトナム : 最近、インドでもようやく簡単な男性の赴任手術するようになっている。ヒンズー教と矛盾しないんだと国民一人一人に9.しみじみ呼びかけまして、都会では人口減ってきているんですよ。
司会 : でも全体的には減っていない。
ラトナム : 特に若者の人口が多いんですよね。で、その若者たちがIT関連にで頑張っていまして。
司会 : インドの国内総生産をたかめているんだけど、人口増加と技術進歩が経済成長をうながす要因になっている。
ラトナム : 10.もし、..................、地方の11.人口政策が十分効果があげなければ、結局は大量の失業者になるではないでしょう。
王 : そうなると、経済も停滞してしまうというわけですね。

目的

คราวนี้เป็นการฝึกฟัง บทสนทนา กันบ้าง เป็นเรื่องวิชาการ
เกี่ยวกับเรื่องประชากรเหมือนเดิม
แต่ เนื่องจากเป็นเนื้อหาเกี่ยวเนื่องกับคราวที่แล้วเลยมีศัพท์ที่ ได้เรียนมา
จากคราวที่แล้วพรึ่บพรั่บ ทำให้อุ่นใจได้บ้างค่ะ
เป้าหมายคือฝึกฟังศัพท์ที่ได้เรียนมาจากการฟังสารคดีที่ 4
แล้วดูว่าได้ผลดีเป็นที่พอใจมั้ย เนื่องจากคราวที่แล้วยังรู้สึกไม่ค่อยพอใจเท่าไหร่นัก

自己評価

ตอนแรกนึกว่า ตายล่ะ ฟังบทสนทนาจะจดไหวหรอนี่
ต้องฟังหลายคน พูดหลายเรื่อง เอาล่ะสิตายแน่
รอบแรกก็ตื่นตระหนกมากค่ะ จดได้เป็นช่วงๆ ไม่ค่อยต่อเนื่องกัน
แต่ฟังเรื่องที่เค้าพูดเข้าใจนะคะ
พอมารอบสองก็ยังตื่นอยู่ แต่ก็ตั้งสติได้บ้าง
รอบ3-5 นี่สบายค่ะ เริ่มจับจุดเฉพาะวำคัญๆ ได้มากขึ้น
ในรอบ 4-5 ก็จะเป็นเรื่องของ การฟังจุดที่ตกหล่นคำช่วยเล็กๆน้อยๆ
เหมือนเดิมค่ะ คราวนี้เริ่มรู้สึกว่าการฟังภาษาญี่ปุ่นถ้าเป็นเรื่องที่เรารู้ศัพท์อยู่บ้างแล้ว
มันก็ง่ายกว่าภาษาอังกฤษที่มีการออกเสียงชัดเจนน้อยกว่าภาษาญี่ปุ่น
หรือว่าเราจะเริ่มชินขึ้นบ้างแล้ว?! แต่อันนี้ก็ไม่แน่ใจเนื่องจากห่างภาษาอังกฤษมานาน

チェック!และการนำกลับมาใช้


1.ガンディ ** อันนี้ใช้ถูกแล้วค่ะ จากคราวที่แล้วเขียนชื่อค่นธีผิด ตอนนี้เขียนถูก ควรจะดีใจดี
มั้ยคะ 55
2.人口抑制  = การยับยั้งการเติบโตของจำนวนประชากร
***คำนี้ได้ยินบ่อยมาในบทที่แล้วเลยทำให้เข้าใจโดยไม่ต้องตกใจมาก ชิลๆ
3.半ば = กลาง
** คำนี้ตอนได้ยินครั้งแรกในบทที่แล้วก็ฟังอยู่หลายรอบว่า นะกะๆอะไร
มาในบทนี้ก็เข้าใจจดได้ทันทีตั้งแต่ฟังครั้งแรก
4.先頭 = หัวหน้า
**อันนี้รู้ความหมายค่ะแต่ไม่รู้คันจิ
5.推進員 --> 推進委員 = กรรมการสภาเพื่อความก้าวหน้า
** ได้ยินไม่ครบค่ะ จะจำเอาไว้หากมีโอกาสได้ใช้
6.ノルマを貸して ーー> ノルマを課す = ความพยายามทำให้ทะลุโควต้า
** งงค่ะไม่เคยได้ยินมาก่อน ก็ต้องจำกันต่อปายยย 
7.赴任手術  ー> 不妊手術 การทำหมัน
8.ヒンズー  *** อันนี้ก็ใช้ถูกแล้วค่ะ ดีใจแค่อยากบอก ฮิๆ***
9.しみじみ呼びかけ ー> 地道に呼びかけ = ค่อยๆเรียกร้องให้ทุกคนสนใจ
** อันนี้มั่วไปเลยค่ะ มีการแถมเพิ่มเองซะด้วย แห่ะๆ ***
10.もし、..................、-->  もし、政府の貧困対策や = มาตรการแก้ไขความยากจนของรบ.
** ขอสารภาพว่าฟังไม่ทัน**
11.人口政策 --> 振興政策 = มาตรการพัฒนา
** ก็ยังฟังผิด ระหว่าง し และ  じ อยู่ แต่คราวนี้ก็ไม่ค่อยมีที่ฟังผิดเยอะแบบนี้เท่ากับคราวก่อนๆนะคะ (แก้ตัว)***

สคริปท์ของจริงค่ะ
สีน้ำเงิน = ฟังครั้งที่ 1สีชมพู = ฟังครั้งที่ 2สีเขียว = ฟังครั่งที่ 3สีส้ม = ฟังครั้งที่ 4
สีดำ = ฟังครั่งที่ 5

วันอาทิตย์ที่ 27 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

My Goal : ตัวอย่างสคริปท์


                                                
สคริปท์สรุปเอง จากสารคดีครั้งที่ 3
เขียนโดยใช้สีเดียวไปเลย ฟังทั้งหมด 5 ครั้ง
แล้วค่อยนำมาสรุปพิมพ์ใหม่ใส่บล็อค
จะเห็นว่าความสามารถในการเขียนคันจิภายใต้ความกดดัน
เป็นศูนย์ 555
สคริปท์สรุปเองจาก สารคดีครั้งที่ 4
สีน้ำเงิน = ฟังครั้งที่ 1สีชมพู = ฟังครั้งที่ 2สีเขียว = ฟังครั่งที่ 3สีส้ม = ฟังครั้งที่ 4
สีแดง = ฟังครั่งที่ 5
หลังจากฟังคำแนะนำจากอาจารย์จึงลองมาทำดู จะเห็นว่าครั้งที่1
และ 2 จะเป็นการจับเนื้อหาหลักๆ ส่วนครั้งที่ 3-5 จะเป็นการเติมส่วนที่ขาดหล่นไป
** ต้องขออภัยที่ดูไม่รู้เรื่องแน่ๆ หนูดูรู้เรื่องคนเดียว***

My Goal : การฟังสารคดีครั้งที่ 4 :人口動態

第2課:人口動態

1.5回を聞いた結果

    トッピック1:人口問題
    インド旅行しているとまったくけたまげるような職業にぶつかる。ここでは洗濯ものを干すのに物干をかけたりはしない。女は身にまとうサリー長い一枚の布である。二人の男が両端を手で持って、日にあたるとこに立つ。そのまま乾くまで立つ。この国では人間が有り余っている。社会から1.ハミデタ人たちが自分を2.ダンピングしてでも何が他のささやかな3.仕事がないのである。梅棹が4.学じつたんけんたいの一員として、インドに出かけたのは1955のことである。インドは当時すでに4億に近く、中国についで世界第2の人口大国であった。その後1970年代半ばは5.カーンティ首相が人口抑制策取り組んだ物の失敗に終わった。国民8割が信じる6.ヒンジュー教の教えが阻んでいたのだ。インドは2035までには中国を抜き世界最大に7.お躍り出る。2050年に10億人を越えるとみられている。人口問題は結局生産力次第である。8.貧困から脱出する人口がいかにすすむ。生産力があげれば、問題は解消するのである。しかし、巨大人口であると、生産力をあげるのはどうしたらいいのか、インドやパキースタンや、バングラデッシュなど人口爆発に悩んむ国々は独立のその日からこうした申告の課題に直面してきている。
     ある国の総人口、男女別、年齢別に分けて、人口成長を示した人口ピラミッドである。発展途上国では多産多死の火山型が多い。国の経済が発展していくとまず死亡率を低下するため一時的に人口が増える。そして、それがさらにすすむと社会全体やがて多産が管理されるように小産少子の高齢化社会になる。日本では1960年代ー1970年代にかけて若年世代の働き手が多く経済成長が加速にした。しかし、やがて、豊かになり。
女性の高学歴社会進出が進むと少子高齢化が国連では9.予測うわまるいきおいで進んだ。老人人口が総人口の7%に越えると高齢化社会になり、14%越えると高齢社会になり、そして20%超高齢化社会と規定している。この定義によれば日本はすねに1970には7.1%で高齢化に突入し、2000には17.3%で高齢社会になっている。それが2006には20%越えて超高齢社会になり、そして2050には35.7%とピークに達するという。超高齢化の問題を突き詰めて考えれば生産力の問題に突き当たる。日本の場合でいえば、1980生産人口の7で老人一人をやしなっていた。しかし2015年には4人に一人、2050年には3人に一人が高齢社会になるという。10.生産制の低下とともに若者の方には老人介護の問題も重くのしかかり、不満が高まって老年層との間に少子高齢化の問題がせたいかん対立がうまれる。高齢化のピッチが早いだけに深刻の問題である。こうした少子高齢化の問題が日本にかぎらず、シンガポールや韓国などのアジア諸国でも深刻化してきている。高齢化が一足先に進んだスウェデンやノルウェイの北欧諸国のように11.育児きゅぎょうちゅう保証する保険制度や育児手当など、親が育児を楽しめて、キャリアもアップできるような12.てあすい少子化対策をすすめていかないかぎり、歯止めをかけることは難しい状況である。

     目的

    ฟังจับเนื้อหาโดยรวมเหมือนเดิมโดยคราวนี้เป็นเรื่องสังคมญี่ปุ่นที่กำลังมีปัญหาจากการลดลงของจำนวนประชากรเกิดใหม่ โดยเข้าสู่ภาวะสังคมที่มีแต่คนสูงอายุ คนวัยทำงานน้อยลง 
การฟังในครั้งนี้เป็นการฟังเรื่องที่มีความรู้พื้นฐานเดิมอยู่แล้วโดยเราอาจจะได้ยินอยู่บ่อยๆเรื่องประชากรคนหนุ่มสาวที่น้อยลงของญี่ปุ่น เป้าหมายก็คือเป็นการใช้ความรู้เดิมที่มีอยู่แล้วมาช่วยเดาเนื้อเรื่องในการฟังค่ะ 

      自己評価

   เรื่องนี้มีความยาวถึง 6 นาทีซึ่งนับว่ายาวกว่าเรื่องที่ๆผ่านๆมามาก แต่เนื้อหาก็ไม่ได้ยากจนเกินไปเพียงแต่ว่ามีตัวเลขเข้ามาเยอะมาก ทำให้ตกใจสุดๆ จดตัวเลขไม่ทัน แต่ฟังซ้ำไปมา 5 รอบก็ทันค่ะ  แต่ถ้ารอบเดียวนี่ความสามารถยังไม่ถึงค่ะ ยังไม่ค่อยพอใจเท่าไหร่นักกับการฟังครั้งนี้เพราะมีตรงที่ทำให้ความหมายเพี้ยนไปบ้างพอสมควร

  チェック!!

  1.ハミデタ = はみでる ในที่นี้คิดว่าน่าจะหมายถึงคนชายขอบ
    2.ダンピング  =  ในที่นี้หมายถึง การทำให้ตัวเองด้อยค่าลงไป
     ** ตอนแรกได้ยินก็นึกว่าหมายถึงการทิ้ง ธรรมดาๆเฉยๆ แต่พอมาอ่านอีกทีแล้วเออ มันไม่ใช่
     3.仕事がないのである。ー>ダンピングしてでも何が他のささやかな仕事にありつくほかないのである。
 ** อันนี้ก็ฟังตกหล่นไป ข้ามๆไปเพราะไม่เคยลองใช้หรือได้ยินคำว่า ありつく มาก่อน ซึ่งหมายถึง การหาเจอ  การพบ ถ้ามีโอกาสจะลองใช้ดูนะคะ
     4.学じつたんけんたいの = 学術探検隊(がくじゅつたんけんたい)คณะวิชาการค้นหา
** ฟัง 5 รอบก็ยังฟังเป็น がくじつ นับว่าผิดอย่างแรง 
    5.ガーンティ = ガンディ 、 パキースタン = パキスタン
    6.ヒンジュー = ヒンズー 
** หนูคิดว่าอันนี้ ต้องเป็นอิทธิพลไม่ดีจากภาษาแม่ค่ะ ได้ยินว่า ヒンジュー แต่ถ้าเป็นคนญี่ปุ่น เค้าจะได้ยินว่า ヒンズー ถือว่าเป็นเรื่องที่ช่วยไม่ได้แต่จะจำไปใช้ค่ะ 
  7.躍り出る  = เด่นออกมา
  8.貧困から脱出する人口がいかにすすむ。生産力があげれば、問題は解消するのである。しかし、巨大人口であると、生産力をあげるのはどうしたらいいのか 
 = 生産力があげれば「問題」は解消するはずだからである。しかしこの巨大な人口を貧困から脱出させるほどに生産力をあげるには、どうしたらいいのか。

*** โอ้ว้าว เรียงลำดับผิดเกือบหมดเลยค่ะ  แต่ตรง 巨大人口であると、生産力をあげるのはどうしたらいいのか ก็ได้ใจความของส่วนนี้อยู่บ้าง แต่อันนี้貧困から脱出する人口がいかにすすむ。มั่วมากค่ะ 

  9.予測うわまるいきおい = 予測上回る勢い 
** อันนี้เข้าใจความหมายค่ะเพียงแต่ไม่รู้คันจิ

 10.生産制 = 生産性 ธรรมชาติของการผลิต การเกิด
** ไม่รุว่า เซ ตัวไหน ใช้ไปผิด
11.育児きゅぎょうちゅう  = 育児休業中 การหยุดงานเพื่อเลี้ยงดูเด็กที่เพิ่งเกิด
12.てあすい = 手厚い อ่อนน้อม นอบน้อม 
** ฟัง つ เป็น す อีกแล้วววว แต่คาดว่าเป็นเพราะเร่งรีบต้องฟังอย่างอื่นทำให้ฟังไม่ได้ซะที

output สาระคดีครั้งที่ 4

 เป็นการเอาศัพท์ที่ได้มามาฝึกใช้ในแบบฝึกหัด
内容理解ためのポイント

1. 梅棹忠夫がインドで見てきた「全くたまげるような職業」とはどんな仕事か。彼はなぜそのような職業があると考えているのか。
  干しざおで洗濯ものを干すかわりに、人間で洗濯ものを持って乾かせる仕事。貧困でささやかな仕事にありつく他にないため、自分自身をダンピングしてでも、何でもできると考えている。
2. 人口大国の課題を、次のキーワードを使って説明しなさい。 「人口、貧困、生産力」

人口大国の問題は生産力による、生産力をあげれば、問題を解消出来るが、どうやって生産力をあげて、貧困を脱出させるためには問題になっている。

3. 発展途上国の「火山型」の人口構成を具体的に説明しなさい。また、経済が発展していくと、人口ピラミッドはどのように変化していくのか説明しなさい。

 発展途上国の「火山型」は若者が多く、老人が少なく、多産多死の社会の構造であるが、発展していくと少子高齢社会になって、ピラミッドは円柱の形になる。





วันพุธที่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

My goal : การฟังสารคดี 3 : 文明の類型

การฟังสารคดี 3 : 文明の類型

สคริปข้างล่างได้จากการฟังจากซีดีทั้งหมด 5 ครั้งค่ะ

   1. 文明の類型について
     文明の類型について発表する。
     梅沢忠雄は「文明の1.せいたいしかん」という2.じょしょで、東洋とか西欧とかという分け方がナンセンスだと言っている。そのかわりに二つに分ける3.カテゴリに分類しているが、旧世界の.....アジア、ヨーロッパ、北アフリカも含む旧世界。この旧世界を第一、第二と言うふうに分けている。まず、第一地域西欧と日本、日本を西欧と同じグループに入れている。
この分け方については4.俳論も多いことも思うが、あとでなぜそのように分類しているか、その分類の根拠はあとで述べる。
     第二地域のほうだが、第一地域に挟まれた国々だと言っている。つまり、中国、インド、ロシア、そして、5.地中海イスラムの四つの巨大の文明とその四つの文明を取り囲む周辺な国々だという。どうして、このように分類しているのか。梅沢は両地域の歴史を比較して、その歴史的展開の違いを根拠にして、分類した。
     つまり、第一西欧と日本はどちらも、初めは6.未開な国としてスタートしている。第二のほうは6.いずれな巨大な文明を発生した地域だということ。第一地域は第二から7.偉大な文明をとりいれているわけなんだ。その後は8.封建制度それから9.絶対主義へ、そして、ブルジア革命を経て、現代は資本主義による10.ぶし文明の社会になっている。
    一方、第二地域だが巨大な文明発生している地域でありながら、封建制度を発展させなかった。この点は第一地域と異なる。もちろん、封建制度は中国が先に成立したが、、11.紀元前のことだ。
    この制度をとりいれて全国を統一したのは、むしろ、日本のほうだった。第二地域の多くの国々は巨大の12.せいせい国家を作り上げていた。そのあと13.国家をほろびて、第一地域の植民地、あるいは半植民地となった。近年になってようやく数段階革命をへながら、新しい近代化の道をたどろうとしている。こういう共通点をとらえて、これらの国々を同じ第ニ地域のグループに分類した。

目的

  การฟังเรื่องครั้งนี้เป็นการฟังเรื่องจากการออกไปรายงานหน้าชั้นสั้นๆ ของผู้ที่ศึกษาเกี่ยวกับการแยกประเภทวัฒนธรรมตามทฤษฎีของคุณ 梅沢忠雄 แล้วสามารถนำมาสรุปแล้วเรียบเรียงตามความเข้าใจของเราให้ได้อย่างถูกต้อง


自己評価

       การฟังเรื่องในครั้งนี้เป็นเรื่องที่มีเนื้อหาต่อเนื่องจากครั้งที่แล้ว และมีความยาวเพียง 4.17 นาที
ไม่ยาวจนเกินไป ทำให้สามารถจับใจความสำคัญได้เกือบทั้งหมด พร้อมทั้งยังสามารถนำศัพท์จากครั้งที่แล้วมาใช้ทำความเข้าใจเนื้อหาในคราวนี้ด้วย รู้สึกประสบความสำเร็จกว่าเดิม รู้สึกถึงการพัฒนาการฟังของเรา การจับใจความจะสามารถทำได้ง่ายขึ้นมากหากรู้ศัพท์เทคนิคที่จะมี ในเนื้อหานั้นๆ หากมีการเตรียมตัวก็จะทำได้ดี แต่ก็ยังมีตกหล่นเล็กๆน้อยอยู่บ้าง ทำให้รู้ว่าเราสามารถฟังการพรีเซนค์หน้าชั้นสั้นๆของคนญี่ปุ่นได้เข้าใจพอควรกว่าที่คิดเลยทีเดียว


อันนี้เช็คศัพท์หลังจากฟังเรียบร้อยแล้วจึงมาทำแบบฝึกหัดค่ะ

output 内容理解のため

                 文明の類型について
1. 梅沢忠雄の旧世界(アジア、ヨーロッパ、北アフリカ)の分類

第一地域 : 西欧 、 日本
第二地域 : 中国、インド、ロシア、地中海 イスラム と、その周辺

2. 第一、第二地域の歴史的特徴(下1-5から選びなさい)

1. 巨大な文明発生  2. 未開な国 3. 封建制 4. 巨大な専制国家 5. ブルジョア革命

第一地域 : 2.未開な国 ー>第二地域から文明を取り入れるー>3. 封建制度 ー>
絶対主義 ー>5.ブルジョア革命 ー>現代 :資本主義国家
第二地域 : 1.巨大な文明発生 ー> 4.巨大な専制国家 ー> 第一地域の植民地、半植民地になる ー>近年 :数段階の革命を経て、近代化

3. 第一地域と第二地域の大きな合い相違点

- 第一地域は未開な国だったが、第二地域は巨大の文明を発生した
- 第一地域は封建制度を発展させたが、第二地域にはなかった。

3. 

CHECK ตรวจสอบตรงที่ตกหล่น


1.せいたいしかん = 生態史観 การมองประวัติศาสตร์เชิงนิเวศน์
2.じょしょ             =    著書(ちょしょ)นักเขียน
*** อันนี้ผิดตั้งแต่ฟังเลย ฟัง ち เป็น じ ได้อย่างไร
3.カテゴリ    = カテゴリー 
*** อันนี้ก็ที่จริงไม่น่าต้องจะสนใจมากเพราะคาตาคานะ มีอาจารย์ญี่ปุ่นเคยสอนว่าแล้วแต่คนที่ฟังได้ว่าฟังเป็นเสียงยาวหรือสั้น แต่ที่น่าดีใจคือ ใช้คำนี้ 「ヨーロッパ」ถูกสักที จากที่ครั้งก่อนผิดไป

4.俳論                    = 異論 การถกเถียง
*** รู้ค่ะว่าแปลว่าอะไร เค้าต้องการจะสื่ออะไร แต่ใช้คันจิผิด แหะ

5.地中海                  = แถบตะวันออกกลาง
*** อันนี้ดีใจค่ะ ศัพท์ที่เคยได้ยินครั้งก่อน พอมาได้ยินคราวนี้เลยไม่ตกใจ 

6.未開                     = ไม่เปิดประเทศ 
*** ตอนแรกงง เอ๊ะ มิไค อะไร พอมาดูเฉลยอ๋อ คันจิตัวนี้ มันช่างง่าย

6.いずれな巨大な文明  = いずれも巨大な文明 ไม่ว่าจะอันไหนก็เป็นอารยธรรมที่ยิ่งใหญ่

7.偉大        =  ยิ่งใหญ่
*** ไม่รู้คันจิมาก่อน ถึงเห็นก็อาจจะอ่านเป็น เอะได 555

8.封建制度 = ระบบฟิวดัล

*** ก็รู้ว่ามันเป็นระบบอะไรเกี่ยวกับกฏหมายซักอย่างนั่นล่ะ ในตอนแรก พอดูเฉลย อ้อ มันคือฟิวดัลนั่นเอง แต่ก็แสดงว่าเรามีการเดาอย่างมีพื้นฐาน ไม่มั่วมากนะ

9.絶対主義 = ระบบเผด็จการทางการเมือง 
***  อันนี้ก็เดาๆได้อยู่ว่าต้องเป็นระบบเผด็จการแน่นอนแต่ก็ไม่แน่ใจอยู่ตอนแรก

10.ぶし文明の社会 = 物質文明の社会 สังคมวัตถุนิยม
*** แค่ฟังก็มั่วแล้ว ไม่ได้ยินเสียง つ เลยค่ะ

11.紀元前    = ก่อนคริสตศักราช

12.せいせい国家   = 専制国家 ชาติเผด็จการ

*** คำว่า専制นั้นรู้อยู่แล้ว เป็นศัพท์ที่ได้จากการฟังครั้งก่อน แต่ฟังผิดอ่ะค่ะ

13.国家をほろびて = ทำลายชาติ



ブルジョ革命ー>****ブルジョア革命***** = การปฏิวัติระบบฟิวดัล
สะกดผิดค่ะ










วันศุกร์ที่ 18 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

My goal! output บทความสารคดีที่ 2 :多文化時代

จากการฟังอยู่ 5 รอบคราวที่แล้ว ได้ใจความดังข้างล่างนี้ 
ตัวสีแดงคือศัพท์ที่ไม่เคยทราบหรือใช้ผิดๆมาก่อน


トッピック2



「多文化時代」
 
    多文化の時代ということでお話しいたします。最近日本で近代化論についてお話する人が少なくなっています。今日はまず、日本で近代化とは何か、近代化しているか、西欧化しているか、それとも、同じなのか?ということを進めていきたいと思います。1.ご損じしているように日本は明治以降西欧の近代文明を取り入れました。ただ明治時代 2.「わこんようざい」と言いまして西欧文化を取り入れても、心は日本人というように3.武士道的のほうげん的ども言える制度を残していた。そうすることで、日本の民族性を保とうとしたかもしれません。戦後は技術的な面だけではなく、日常生活にも近代化、西欧化が進んできました。
    70-80年代にかけて、経済成長続ける中で4.アイデンテティの危機とか5.喪失の問題が起きた。つまり、自分のアイデンテティ、日本人は一体何か、日本のアイデンテティをもとめる風潮が出てきた。ところで、近代化論の一つに日本や6.中近東を含むアジア諸国西欧を西欧から一方ツウホウを遅れた段階にいきづける見方もあります。西欧をモデルにして、その後を追い見方、近代化出すするのだ。でも近代化から西欧化になることを意味にするではない、西欧と同じではなく、多様である、こういう見方もあります。西洋文明内部のことでは7.さまざまなようすがあるが、全体的には同質的です。一方東洋文明にはそう簡単にはひとくくりすることができない、宗教、イスラム、仏教、クリス教......非常に多様で異質的なもの含んでいます。
    90年代になって、あっちこっち地域紛争が起きると、互いに衝突せざることを得ないと考えられた。冷戦体制崩れてアイデオロギーによって文明の異質性を押さえることができない、紛争はその結果であろうというわけなんです。同質的な西欧社会からすると、8.異なる文明の共存には協力なせんさいしはいが必要だという事。でも、アジアの多くの国では異質的な文化が日常生活に混在しているわけですから、それはどうも単純過ぎるように思うんですね。
   90年代にはグロボール化急速に進んで、経済面と科学面を結び付くようになりました。さらに、交通通信も発達して国の国境を越える事が簡単にできて、国外のできごともすぐ伝わった。異文化接触間が増えて、つまりグロボール化の進行とともに文化間の争いしやすい状況になっているではないかと思うですね。人間は自分とことなる他者に触れて、自己意識するようになる。自分と同質文化と同時に親近感を抱く、時に敵対するというわけです。異質文化を同時にエキゾチックの魅力も感じます。自分の文化をさらに豊にする。こういった多分かのプラス面にも生かしてには私たちの課題だと思います。


              ......................................


内容理解のためのポイント

**แบบฝึกหัดนี้เป็นการฝึกให้จดเมโม ตามฟอร์มที่เขาให้มา เหมือนจดเลคเชอร์

** ตัวสีม่วงคือคำตอบตามที่เราได้จดใจความมา
** ตัวสีแดงคือ ศัพท์ที่เราได้นำมาใช้อีกครั้ง


                  講演「多文化の時代」
1.近代とは
(1)日本は、近代化しているか、西欧化しているか。
(2)近代化と西欧化は、同じなのか。

2. 日本の近代化について
(1) 明治時代(1868-1912)和魂洋才と言いまして西欧文化を取り入れても、心は日本人というように武士道的や封建的と言える制度を残していた。そうすることで、日本の民族性を保とうとしたかもしれない。
(2)戦後(1945ー...)技術的な面だけではなく、日常生活にも近代化、西欧化が進んできた。 


3. 近代化論の二つの見方
(1)中近東と含むアジア諸国を西欧から一歩数歩遅れた段階に位置づける見方
(2)近代化から出すするが、近代化から西欧化になることを意味にするではない、西欧と同じではなく、多様でであるという見方。


4. 90年代の地域気紛争の原因について
(1)冷戦後ー>冷戦体制が崩れてアイデオロギー**によって文明の異質性を押さえることができないからという説。
(2)グローバル化ー>交通通信技術も発達して国の国境を越える事が簡単にできて、国外のできごともすぐ伝わって、その結果、化接触間が増えて、つまりグロボール化の進行とともに文化間の争いしやすい状況になっているではないかという説。


5. 今後の課題 :多文化の時代のプラス面をいかにもいかしていくべきかということ


チェック!!


1.
 3. 近代化論の二つの見方
(1)中近東と含むアジア諸国を西欧から一歩数歩遅れた段階に位置づける見方
(2)近代化から出すするが**、近代化から西欧化になることを意味にするではない、西欧と同じではなく、多様でであるという見方。
ตรงนี้จับใจความไม่ค่อยทัน แต่ก็นับว่าใกล้เคียงกับเฉลยโดยความคิดที่มีเกี่ยวกับ modernization มีอยู่ 2 แบบ คือ 
(1) 西欧をモデルしてあとを追い、近代化社会に達するという見方。
(2) アジア諸国の到達点は西欧と同じではなく、多様であるという見方。

** 近代化から出すするが อันนี้มั่วอย่างแรงค่ะ ต้องเป็น 近代化に達する
เห็นได้ชัดเลยว่าตัวข้าพเจ้านั้น ฟัง 達する เป็น 出す ตัวเต็งเต็งมาจากไหนก็ไม่ทราบ
ฟังได้มั่วมากค่ะ


ทฤษฏีที่ 2 ต่างจากเฉลยตรงที่ว่าเราจับใจความได้ว่า " ไม่ได้หมายความว่าจะเปลี่ยนจาก modernization เป็น westernization" แต่จริงๆแล้วเค้าบอกว่า "ไม่ได้หมายความว่าเปลี่ยนให้เหมือน modernization แบบชาวตะวันตก" ซึ่งแสดงให้เห็นว่าการฟังผิดเล็กน้อยทำให้ความหมายเปลี่ยนไปโดยทันที

2.
アイデオロギー** เขียนผิดอย่างแรงค่ะ ต้องเป็น イデオロギー***

                                 ........................................

สรุปศัพท์ที่นำมาใช้ได้อีกในครั้งนี้ 

1. 和魂洋才
2. イデオロギー
3. 冷戦体制
4.  一歩数歩
5. 中近東
6. 近代化
7. 西欧化
8. 交通、通信技術

            ........................................

















My goal! output บทความสารคดีที่ 1:文明の多様性と異質性

เมื่อฟังเรื่องแล้วนำมาทำแบบฝึกหัด เป็นการนำศัพท์ที่ได้มาใช้จริง
และแสดงความเข้าใจ จากบทคามที่เราได้สรุปออกมาเอง


ศัพท์ที่ไม่รู้หรือใช้ผิดจากครั้งก่อน มีดังนี้
1. ヨロッパー ー> ヨーロッパ (เข้าใจผิดมาตลอด)
2. ชื่อผู้เขียน ワツジ テスロ ー> 和辻哲郎
3. ヒツジを体験すること ー> 湿潤(しつじゅん)を体験すること。 
  ** พบว่าตัวข้าพเจ้ามีแนวโน้มที่จะฟังเสียงตัว  しー>ヒ ซึ่งควรได้รับการแก้ไขโดยด่วนก่อนการหลายเป็นฟอสซิล
4.  人間の成長.........に深く及ぼし -> 人間の成長(精神構造)に深く及ぼし
5. 「ナンセイモンスーン」ー> 南西モンスーン
6. ねったいとしょねつの湿気 ー> 熱帯と暑熱の湿気 (ความชื้นในฤดูร้อนและเขตร้อน)
7. じゅようてき、にんじゅう的のモンスーン型人間  --> 受容的忍従的のモンスーン型人間 (คนประในเขตมรสุมมีความเป็นมิตรและอดทน)
8. モーコ ー> 蒙古 (คนมองโกล) 
9.  せいきをなくしている ー> 生気をなくしている (ทำให้ขาดความมีชีวิตชีวา)
10. だんけつを強める。ー> 団結を強める (เน้นความเป็นหมู่)
11. 夏の乾燥はぼくじょうに......おくじょう型な人間が形成し ー> 夏の乾燥は、牧場にモンスーン地域のような夏草を茂らせることはない。人間に対して従順な自然の中で「牧場型人間」は合理... 
  ** นอกจากจะฟังไม่ทันในประโยคนี้ ยังได้ยินเสียงตัว โบะ เป็น โอะ ในแถบสีน้ำเงินที่ได้ไฮไลท์ไว้ แสดงว่ามีแนวโน้มที่จะฟังแถว อะ และ ฮะ ผิดบ่อยๆ


12.  彼の天才的な直感によるものであって、科学的の客観性にかけるというのである ー> ตรงนี้ตกข้อความอื่นๆไปเยอะทีเดียวดังเฉลยตามนี้
  たくみな文化論をくり広げた、しかし、それは、彼の天才的な 詩人直観によるものであって、断言するには科学客観性に欠けるというのである。
คำศัพท์ที่ไม่เคยได้ยินได้แก่ たくみな หลากหลาย 、客観性 ที่จับต้องได้、直観 สัญชาติญาณ )






内容理解のためのポイント
**สีม่วง คือ คำตอบตามคววามเข้าใจของเรา
** สีแดง คือ คำศัพท์ที่นำมาใช้ใหม่ จากการฟังครั้งก่อน


1. 和辻哲郎はヨーロッパでどんなことに気づいたか。
日本は雑草があるが、ヨーロッパでは雑草ではなく「牧草」があることに気づいた。

2. 和辻哲郎の考えを説明しなさい。

2.1 モンースーン型 
地域 : 中国や日本や東南アジア
自然、風土の特徴 :南西モンスーン熱帯の暑熱と湿気を同時にもたらす。
人間の特徴 : 受容的、忍従的
そのような人間の特徴が形成される理由 : 自然の厳しさに耐えながらも、豊な食物を恵む自然に従うからである。

2.2 砂漠型 
地域 : アラビア、アフリカ、蒙古

自然、風土の特徴 :乾燥、乏しい自然、生気なし
人間の特徴 :部族に従い、戦いをよく起こす。
そのような人間の特徴が形成される理由 : 乾燥によって生気がないので、部族の団結に強め、乏しい自然の恵みをもとめ、他部族と戦いをしなければならないからである。

2.3 牧場型
地域 :ヨーロッパ
自然、風土の特徴 : 夏は乾燥し、冬に雨。従順な自然である。
人間の特徴 : 合理的な精神を持つ。
そのような人間の特徴が形成される理由 : 従順な自然の中にくらしているからである。

3. 和辻哲郎の「風土」にたいしてどんな批判があるか。
 批判は大きく分けて二つある。一つは、科学客観性に欠けるということという批判である。もう一つは、経済的側面には彼の風土論は手がかりにならないという批判である。

4. 人間と自然と文明の関係について、筆者はどのように考えているか。和辻哲郎の考え方とどう違うか。

和辻は人間の文明が自然から強く影響されている、自然が人間の精神構造を作ると考えている。それに対して、筆者は人間からも自然に働きかけている。人間と自然の相互作用を通して、絶えず変化していると言えようと考えている。

                                           ...........................................

CHECK!!!

เมื่อนำมาตรวจกับเฉลยพบว่า คำตอบนั้นมีความถูกต้อง เพียงแต่ยังไม่ละเอียดถี่ถ้วนพอ แต่สำหรับตัวข้าพเจ้าถือว่าเป็นที่น่าพอใจพอสมควร 
ข้อผิดพลาด 
1. そのような人間の特徴が形成される理由 : 従順な自然の中にくらしているからである。ー> 
ตรงการตอบจุดนี้ในเฉลยมีการตอบอีกฟอร์มนึงคือ 自然が人間に対して従順なため 
** ซึ่งจะเห็นได้ว่าการตอบมีแบบฟอร์มที่หลากหลาย นอกไปจาก รูป ーからである。

2. ในข้อ 4. ตรงความคิดของ 和辻哲郎 ยังอธิบายได้ไม่ละเอียดพอ 
「和辻は人間の文明が自然から強く影響されている、自然が人間の精神構造を作ると考えている。」
ー> ที่ถูกต้องคือ 自然、風土の違いが深く影響して、それぞれ異なる人間の精神構造、文明を形成している。

*** ผิดตรงที่ว่า ไม่ใช้精神構造を作る แต่เป็น 精神構造を形成される。


ถ้าต้องให้คะแนนตัวเอง ข้าพเจ้าจะให้ 8 เต็ม 10 ในการทำแบบฝึกหัดนี้ เพราะเนื้อหาไม่ได้ผิดอะไรมาก นอกเสียจากไวยากณ์บางอย่างเท่านั้น และขาดเพียงความละเอียดเล็กน้อยในการตอบ 


飛行機のタスク

ที่อาจารย์ให้ดูภาพแล้วเล่าเรื่อง เมื่อนำกลับมาดูเปรียบเทียบกันก็เป็นดังนี้

เรื่องที่เล่าออกมาเอง หลังจากดูภาพ

「この前私の友達が飛行機にのろうとしたんだけど、空港に着いたらもう乗り遅れてしまって、もうゲートが閉まってしまいました。すごく疲れたし、がっかりしました。そして、その後テレビをつけて、乗ろうとした飛行機が事故があって、落ちました。私の友達がひゃっとしたって、びっくりするよねー。」

 เมื่อนำมาเปรียบเทียบกับเฉลยของอาจารย์ พบว่ามีข้อผิดพลาดและข้อดีบางประการดังนี้

1. มีการใช้คำเชื่อมน้อยมาก ส่วนใหญ่ตัวเองจะชอบใช้ ーて形ในการเชื่อม
2. ใช้คำว่าขึ้นเครื่องไม่ทันได้ เหมือนกับเฉลยอาจาารย์เด๊ะ แสดงว่าเรามีความรู้ศัพท์เหมือนกัน
3. คำว่าเครื่องบินตกไม่รู้จะใช้อะไรเลยใช้ 落ちる ธรรมดา ทำให้ได้เรียนคำว่า 墜落する จากนี้ไปจะใช้ เพื่อเราจะได้ดูไฮโซขึ้น
4. การใช้ If-clause แบบภาษาญี่ปุ่น ....เห็นอาจารย์บอกให้อธิบายความรู้สึก ก็เลยใช้คำศัพท์ที่ได้เรียนมาจากวิชาแจ็ปคอนเวอร์ เช่น 私の友達がひゃっとした แสดงว่าเพื่อนเราเนี่ยรู้สึกเสียววาบเลย พอมาดูเฉลยเออ มันก็พูดได้อีกแบบเนอะ คือใช้ If-clause แบบญี่ปุ่น
「乗っていたら、死んでいただろう」 เทียบได้กับภาษาอังกฤษ If (past tense), clause (Past perfect) เพราะฉะนั้น ている= could have + v3 (อันนี้เป็นความคิดของข้าพเจ้าเอง 55)

วันพุธที่ 16 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

my goal : การฟังสารคดี 2

my goal : การฟังสารคดี 2

1. ฟัง 5 รอบ จดช็อตโน้ตแล้วนำมาเรียบเรียง


トッピック2


「多文化時代」
 
    多文化の時代ということでお話しいたします。最近日本で近代化論についてお話する人が少なくなっています。今日はまず、日本で近代化とは何か、近代化しているか、西欧化しているか、それとも、同じなのか?ということを進めていきたいと思います。1.ご損じしているように日本は明治以降西欧の近代文明を取り入れました。ただ明治時代 2.「わこんようざい」と言いまして西欧文化を取り入れても、心は日本人というように3.武士道的のほうげん的ども言える制度を残していた。そうすることで、日本の民族性を保とうとしたかもしれません。戦後は技術的な面だけではなく、日常生活にも近代化、西欧化が進んできました。
    70-80年代にかけて、経済成長続ける中で4.アイデンテティの危機とか5.喪失の問題が起きた。つまり、自分のアイデンテティ、日本人は一体何か、日本のアイデンテティをもとめる風潮が出てきた。ところで、近代化論の一つに日本や6.中近東を含むアジア諸国西欧を西欧から一方ツウホウを遅れた段階にいきづける見方もあります。西欧をモデルにして、その後を追い見方、近代化出すするのだ。でも近代化から西欧化になることを意味にするではない、西欧と同じではなく、多様である、こういう見方もあります。西洋文明内部のことでは7.さまざまなようすがあるが、全体的には同質的です。一方東洋文明にはそう簡単にはひとくくりすることができない、宗教、イスラム、仏教、クリス教......非常に多様で異質的なもの含んでいます。
    90年代になって、あっちこっち地域紛争が起きると、互いに衝突せざることを得ないと考えられた。冷戦体制崩れてアイデオロギーによって文明の異質性を押さえることができない、紛争はその結果であろうというわけなんです。同質的な西欧社会からすると、8.異なる文明の共存には協力なせんさいしはいが必要だという事。でも、アジアの多くの国では異質的な文化が日常生活に混在しているわけですから、それはどうも単純過ぎるように思うんですね。
   90年代にはグロボール化急速に進んで、経済面と科学面を結び付くようになりました。さらに、交通通信も発達して国の国境を越える事が簡単にできて、国外のできごともすぐ伝わった。異文化接触間が増えて、つまりグロボール化の進行とともに文化間の争いしやすい状況になっているではないかと思うですね。人間は自分とことなる他者に触れて、自己意識するようになる。自分と同質文化と同時に親近感を抱く、時に敵対するというわけです。異質文化を同時にエキゾチックの魅力も感じます。自分の文化をさらに豊にする。こういった多分かのプラス面にも生かしてには私たちの課題だと思います。

ขั้นตอนในการทำ

  • ฟัง 5 รอบโดยรอบแรกฟังเฉยๆเพื่อทำความเข้าใจเนื้อหาโดยรวมว่าเขาพูดถึงเรื่องอะไร
  • เริ่มจดช็อตโน้ตตามในรอบที่ 2-5 
  • ฟังแต่ละรอบรวดเดียวโดยไม่มีการหยุดเพื่อฟังใหม่
  • แต่ละรอบมีความยาวประมาณ 5 นาที  
  • ไม่จำกัดเวลาในการเรียบเรียง หรือเตรียมความพร้อมเพื่อฟัง
  • เนื้อหาเป็น unseen unheard 
目的
   การฟังในรอบนี้เป็นการฟังเพื่อจับใจความโดยรวมเป็นภาษาญี่ปุ่น ซึ่งต่างจากครั้งที่แล้วตรงที่ฟังเพื่อทำความเข้าใจเนื้อหาจริงๆ ไม่ได้ฟังแล้วแกะคำพูดคำต่อคำเหมือนที่ผ่านมา
ซึ่งเป็นเรื่องที่ยากมากกกกกกกกก ยากกว่าฟังแล้วมานั่งแกะคำว่าเขาพูดว่าอะไร ได้ยินถูกมั้ยเฉยๆ
เป็นการฝึกการวิเคราะห์ เรียบเรียง และคาดเดาเนื้อหาจากความรู้เดิมที่มีอยู่ เพื่อสามารถนำไปใช้ในการทำงานได้ในอนาคต เช่นการฟังและจดรายงานการประชุมในบริษัท หรือ เลกเชอร์ต่างๆ ในภาษาญี่ปุ่น 

自己評価

      ฟังรอบแรก แพนิค มากกกค่ะ พยายามจะจดแล้วจดไม่ถูกเลยทีเดียวเลยต้องนั่งฟังเฉยๆ อย่างใจเย็น แล้วพยายามฟังเฉพาะส่วนที่เป็นเนื้อหา รอบที่ 2 เริ่มจด แต่ก็ได้แค่บางช่วง ได้แต่คำเชื่อมต่างๆเล็กๆน้อยๆ เว้นว่างประโยคยาวๆไว้เยอะมากค่ะ จนรอบที่ 3 4 5 ถึงค่อยมาเติมเต็มช่องว่างเหล่านั้น ซึ่งบางช่วงก็ไม่สามารถจับใจความได้เลย เนื่องจากอาจจะเป็นเพราะศัพท์ที่ไม่เคยได้ยินมาก่อนด้วย และฟังไม่ทัน แถมเมื่อยังต้อจดอีกก็ไปกันใหญ่เลยค่ะ 
      ปัญหาเวลาจดก็คือเนื่องจากความรู้คันจิไม่เพียงพอจึงเสียเวลาการจดเป็นฮืรางานะเสียส่วนใหญ่ เมื่อเทียบกับถ้าต้องทำแบบนี้เป็นภาษาอังกฤษ ภาษาอังกฤษง่ายกว่ากันเยอะเลยค่ะ
    แต่โดยรวมก็พอใจมากค่ะ ที่เพียง 5 รอบเราสามารถจับใจความได้ขนาดนี้แม้จะตกหล่นคำศัพท์ต่างๆไปบ้าง เนื่องจากความไม่คุ้นชินกับการฟังเรื่องๆยากๆทำให้ตกใจเเล้วจดไม่ทัน ทั้งๆที่คำเหล่านั้นบางคำก็ง่ายๆและรู้อยู่แล้ว 

check ตรวจสอบส่วนที่ผิด 

1. ご損じしているように ー> ご存じのように

 **ฟังตัว ぞเป็นそ ซึ่งคำนี้เคยเรียนมาอยู่แล้วทั้งๆที่น่าจะรู้ แต่ก็ยังฟังผิดอยู่ ทำให้คันจิผิดไปด้วยเลยทีเดียวเป็นคนละความหมาย
  ** ไวยากรณ์ยังผิด จากนามก็ทำผิดเป็นกิริยา อ่อนด้อยมากๆเลยนะคะนี่

2.  「わこんようざい」ー> 「和魂洋才」
 ** อุ๊ย ดูเลิศหรู ไม่เคยได้ยินมาก่อนค่ะคำนี้ แปลว่า  การรับเอาเทคโนโลยีตะวันตกเข้ามาแต่ปรับให้ความสำคัญกับจิตวิญญาณความเป็นญี่ปุ่นเดิมด้วย

3. 武士道的のほうげん的  -> 武士道的、封建的

** 封建?! คือ ระบบฟิวดัล นั่นเอง ไม่รู้มาก่อนเลย

4. アイデンテティ ー>アイデンティティ!!
*** สะกดคาตาคานะ เป็นเรื่องที่ควรระวังยิ่ง

5.喪失 = สูญเสีย

*** คำนี้เนื่องจากไม่เคยได้ยินได้ฟังเลยข้ามไปเลยเสียเฉยๆ

6. .........アジア諸国西欧を西欧から一方ツウホウを遅れた段階にいきづける見方もあります。ー> 「中近東と含むアジア諸国西欧を西欧から一歩数歩遅れた段階に位置づける見方があります」

*** - 中近東 คือ ใกล้แถวตะวันออกกลาง คำนี้ไม่เคยได้ยินเลยทิ้งไป แต่ก็คงไม่สำคัญมากนัก
      -  一歩 ฟังเป็น 一方 ได้อย่างไรกัน การฟังภาษาญี่ปุ่นนี่ยากกว่าที่คิด เวลาฟังคนญี่ปุ่นพูดมีตัว うหรือไม่นั้นเป็นอะไรที่แยกออกได้ยากสำหรับตัวข้าพเจ้าเอง 
      - 数歩(すうほ)ก็ฟังเป็น つうほう?! ผิดอย่างร้ายเเรง พบว่าตัวเองยังไม่สามารถแยกออกได้ระหว่างเสียง すและ つยิ้งถ้าอยู่ในคำศัพท์ที่ไม่เคยได้ยินมาก่อนนี่ ยิ่งมั่วเลยค่ะ

     - ยังมี いちづける ฟังเป็น いきづける?! โห ไม่รู้ว่าเพื่อนๆจะฟังผิดอย่างนี้กันบ้างหรือเปล่า

7.さまざまなようそ ฟังเป็น ようす ー_ー”

8.突せざることを得ないと考えられた ー> 衝突せざるを得ないんだと考えられるようになりました。 

9.共存には協力なせんさいしはいが必要だという事 ー> 共存には強力な専制的支配が必要だという事。


วันอังคารที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

task6 苦情

การลองเขียนจดหมายร้องเรียน ตำหนิ โรงแรมครั้งแรก

  1. 外湯券のことなんですが、自分の部屋に外湯券をもらえると書いてありましたが、すっかり忘れてて、フロントに訪ねても教えてくれなかったので、そのままお金を払って入りました。
   温泉の共同浴場の利用が無料になっているが、お客さんのお金を受け取るのが、おかしいではないかと思っています。フロントのスタッフさんもお客さんに注意してくれるべきだったが、何も言ってくらなかった。それは有名な旅館として良いでしょうか?
  お金を返してくれるなんか、期待してないですが、お客さんのお金
をとる前にしっかりと考えてほしいとスタッフさんに伝えてもらいたいと思いました

いい点

  • รู้สึกว่าเขียนได้ชัดเจน มีจุดประสงค์ที่จะร้องเรียนดี 
  • รู้สึกว่าแรงในตอนแรก แต่จากประสบการณ์การทำงานโรงแรม บอกได้ว่านี่ยังน้อยค่ะ
  • มีการแจกแจงความเป็นมา เหตุผลของความไม่พอใจชัดเจน เข้าใจง่าย   
悪い点 
  • ใช้ tense ตรง ...と思います、思っています、思いました ไม่ถูก เกิดความสับสน
  • ว่าเขาอย่างเดียว ไม่มีการชมสลับกัน เป็นแค่การเขียนระบายอารมณ์
การเขียนครั้งที่ 2 

    2. 外湯券のことなんですが、自分の部屋に外湯券をもらえると書いてありましたが、すっかり忘れてて、フロントに訪ねても教えてくれなかったので、そのままお金を払って入りました。
   温泉の共同浴場の利用が無料になっているが、お客さんのお金を受け取るのが、おかしいではないかと思っています。フロントのスタッフさんもお客さんに注意してくれるべきだったが、何も言ってくらなかった。それは有名な旅館として良いでしょうか?
        私は昔から長く何回もこの旅館を利用しているので、トラブルがあったことがない。
今回だけは許すことができない。せっかく長い間利用していた良いホテルを見つけたと思ったら、残念な気持ちを押さえられなくて、この苦情を書きました。
  お金を返してくれるなんか、期待してないですが、お客さんのお金
をとる前にしっかりと考えてほしいとスタッフさんに伝えてもらいたいと思いました

*** ตรงที่เพิ่มคือสีม่วง

เนื่องด้วยความสงสัยในเรื่อง 

「思います」と「思っています」の違い

จึงไปลองหาข้อมูลมาได้ดังนี้


*1 「~しようと思っています」は、(相手に言われなくても)以前から思っていた場合。たとえば、「私は忙しくても家事はきちんとしようと思っています。」(日ごろからの信条)

「~しようと思います」は、今思った場合。たとえば、先生から宿題をきちんとするように言われて、「これからはきちんと宿題をしようと思います。」と答える。(相手に言われて初めて思った)

2. 「~しようと思っています」と「~しようと思います」
" しようと思っています ”は少し柔らかい感じがします、
”しようと思います”は断定的で話者の強い意志が感じられます。

สรุปตามความเข้าใจของข้าพเจ้า คือ ในการใช้ 「...しようと思っている。」 คือเราก็คิดมาเนิ่นนานแล้วว่าจะทำ มีการวางแผนไว้แล้ว ไม่ต้องมีคนมาสั่งเราก็จะทำอยู่แล้ว และยังให้ความรู้สึกซอฟต์ๆ ไม่แข็งจนเกินไป ส่วน 「しようとおもいます。」 คือมีคนมาสั่งให้ทำ แล้วเราเพิ่งตัดสินใจที่จะทำเดี๋ยวนั้น

  • เพราะฉะนั้น ตรงท่อนที่ว่า 「おかしいではないかと思っています」 ก็น่าจะถูกแล้วเพราะเราก็คิดมาเนิ่นนานก่อนที่จะเขียนจดหมายนี้ซะอีก และยังเป็นการพูดนิ่มๆแต่เชือดเฉือน แล้วตอนที่คิดว่ามันแปลกๆก็ผ่านมาเนิ่่นนานเเล้ว 
  • ส่วน 「スタッフさんに伝えてもらいたいと思いました。」ยังไม่เข้าใตอยู่ดีว่าทำไมไม่ใช้ と思っています。ตรงนี้อาจารย์เป็นผู้แก้แต่หนูลืมถามเหตุผลค่ะ รบกวนเเถลงไขทีค่ะ งงๆขอบพระคุณมากค่ะ  


วันพุธที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2554

My goal : การฟังสารคดี

ข้อผิดพลาดจาก My goal ครั่้งที่แล้ว สารคดี จากยูทูบ เรื่อง ศาลเจ้ายาสุคุนิ
1. จากครั้งที่แล้วได้คำศัพท์ที่ใช้ในประวัติศาสตร์สงครามมาก
แต่ไม่สามารถจะนำไปใช้ได้ในชีวิตประจำวัน จีงทำให้ตระหนักได้ว่า
ควรจะทำเรื่่องที่ใกล้ตัวและทันเหตุการณ์มากขึ้น
2. ไม่มีบทเฉลยที่ถูกต้องร้อยเปอร์เซนต์ จึงทำให้ไม่สามารถนำมา
พิจารณาถึงพัฒนาการในการฟังครั้งต่อๆไป
3. เป็นสารคดีที่ออกมาเก่าพอสมควร ข้อมูลอาจตกหล่นไป หรือเป็นเรื่องที่รู้กันอยู่แล้ว
4. การหาสารคดีจากเว็บไซต์ยูทูบเป็นเรื่องยาก  เนื่องจากส่วนมากจะเป็นสารคดีที่เก่า
และยาวมีหลายตอน ทำให้ยากต่อการสรุป
ด้วยเหตุดังนี้
ที่มาของสารคดีครั้งที่ 2
ข้าพเจ้าจึงจะขอทำ
บทความสารคดีซึ่งหาได้จากหนังสือเรียนภาษาญี่ปุ่นสำหรับนักเรียนชาวต่างชาติ
ซึ่ง มีทั้งซีดีและบทความประกอบกัน ซี่งเนื้อหามีความยาวไม่มากนัก
 พร้อมทั้งยังมีแบบฝึกหัดจับใจความด้วย
ซึ่งหากทำทุกบทความในเล่มแล้ว น่าจะทำให้ภาษาญี่ปุ่นเกิดการพัฒนาไม่มากก็น้อย
ทั้งเนื้อหายังเกี่ยวกับสังคมญี่ปุ่นโดยรวมในหลายๆด้าน ที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวัน
โดยตรงด้วย ชื่อของหนังสือคือ "国境を越えて「本文論」" ชื่อในภาษาอังกฤษคือ
Cross national bounderies revised edition by yamamoto fumiko

สิ่งที่คาดว่าจะได้รับ 
1. คำศัพท์ใหม่ๆทางวิชาการในด้านต่างๆของสังคมคนญี่ปุ่น
2. การจับใจความและจดบันทึกในภาษาญี่ปุ่นได้อย่างรวดเร็วและถูกต้อง

ขั้นตอนในการดำเนินงาน
1. พัฒนาทักษะในการฟังภาษาญี่ปุ่น โดยการฟังบทความในซีดี 5 รอบ แล้วนำมาเขียนเท่าที่จับใจความได้
2. นำมาเปรียบเทียบกับเฉลย แล้วพิจารณาว่าเราสามารถฟังรู้ เข้าใจได้กี่เปอร์เซนต์ของทั้งหมด
3. รวบรวมคำศัพท์ใหม่ที่ไม่เคยทราบมาก่อน
4. นำคำศัพท์ที่ได้เรียนมาใช้ด้วย



第一課  文明の多様性と異質性 (สคริปที่ได้จากการฟังมาทั้งหมด 5 ครั้ง)

    トッピック1 自然 風土の多様性
 
  ヨロッパーには雑草がない。モンスーン地域から砂漠地域を経て、地中海に入った ワスジ テスロが最初に目にしたのはヨロッパーの緑であった。それは.........あげくれる日本人の知っている「雑草」ではない。ひつじが食うことができる「牧草」であった。日本を出て東から西へ地球を回っていくと、まず、モンスーン地域のヒツジを体験すること、次いで、砂漠地域の徹底的な乾燥を体験する。そして、ヨロッパーに至ると、そこはもはやヒツジュでも乾燥でもない。いや、ヒツジュンであり、乾燥であるとも言えよう。ワスジがこうした風土の違いが人間の成長.........に深く及ぼし、少なくとも、人間の三類系を形成すると考えた。
    第一は中国や日本も含む「モンスーン地域」である。その特徴もっとも示す東南アジアでは夏の半年間、「ナンセイモンスーン」ねったいとしょねつの湿気を同時にもたらす、このような気候の元では自然の厳しさに耐えながらも、豊の食物を恵む自然に従う。その結果じゅようてき、にんじゅう的のモンスーン型人間が形成される。
    第二はアラビア、アフリカ、モーコなどに広がる砂漠地域である。ここでは自然の乾燥によってせいきをなくしている。そのため人間は部族の命令に従い、部族内のだんけつを強める。その一方、乏しい自然の恵みをもとめて、他部族との間で戦いをくりかえす。砂漠型人間が形成される。
    第三はヨロッパーである。南欧が明るく、北欧が暗い、どちらも夏は乾燥し、冬は雨が降る。夏の乾燥はぼくじょうに......おくじょう型な人間が形成し、合理的を発達させ、自由の観念、哲学、科学を生んだ。
   このワツジの風土は1935年に発刊された以来広く読まれている。批判もさまざまな方面から続けられている。批判の一つは学問的の手続きにある。ワツジは海外に行けば
誰でも感じるようなこと深くほりさげ繰り広げた。彼の天才的な直感によるものであって、科学的の客観性にかけるというのである。彼の理論は芸術や宗教における民族の手かかるであるが、せいざんと言う視点がない。モンスーン型の稲作が人間の活動の関連で考えるべきよいうのだ。人間は自然から影響を及ぼしているが、人間も自然を働きかけている。その結果文明を生む、発展させ、またほろぼしもしている。自然を文明は人間と自然の総合作業を通して絶えず変化しているともいえる。

เมื่อนำมาเปรียบเทียบกับเฉลยพบว่ามีจุดที่ผิดพลาดอยู่หลายประการ ดังนี้

** สีดำคือที่เขียนผิด สีแดงคือเฉลยที่ถูกต้อง

1. ヨロッパー ー> ヨーロッパ (เข้าใจผิดมาตลอด)
2. ชื่อผู้เขียน ワツジ テスロ ー> 和辻哲郎
3. ヒツジを体験すること ー> 湿潤(しつじゅん)を体験すること。 
  ** พบว่าตัวข้าพเจ้ามีแนวโน้มที่จะฟังเสียงตัว  しー>ヒ ซึ่งควรได้รับการแก้ไขโดยด่วนก่อนการหลายเป็นฟอสซิล
4.  人間の成長.........に深く及ぼし -> 人間の成長(精神構造)に深く及ぼし
5. 「ナンセイモンスーン」ー> 南西モンスーン
6. ねったいとしょねつの湿気 ー> 熱帯と暑熱の湿気 (ความชื้นในฤดูร้อนและเขตร้อน)
7. じゅようてき、にんじゅう的のモンスーン型人間  --> 受容的忍従的のモンスーン型人間 (คนประในเขตมรสุมมีความเป็นมิตรและอดทน)
8. モーコ ー> 蒙古 (คนมองโกล) 
9.  せいきをなくしている ー> 生気をなくしている (ทำให้ขาดความมีชีวิตชีวา)
10. だんけつを強める。ー> 団結を強める (เน้นความเป็นหมู่)
11. 夏の乾燥はぼくじょうに......おくじょう型な人間が形成し ー> 夏の乾燥は、牧場にモンスーン地域のような夏草を茂らせることはない。人間に対して従順な自然の中で「牧場型人間」は合理... 
  ** นอกจากจะฟังไม่ทันในประโยคนี้ ยังได้ยินเสียงตัว โบะ เป็น โอะ ในแถบสีน้ำเงินที่ได้ไฮไลท์ไว้ แสดงว่ามีแนวโน้มที่จะฟังแถว อะ และ ฮะ ผิดบ่อยๆ


12.  彼の天才的な直感によるものであって、科学的の客観性にかけるというのである ー> ตรงนี้ตกข้อความอื่นๆไปเยอะทีเดียวดังเฉลยตามนี้
  たくみな文化論をくり広げた、しかし、それは、彼の天才的な 詩人直観によるものであって、断言するには科学客観性に欠けるというのである。
คำศัพท์ที่ไม่เคยได้ยินได้แก่ たくみな หลากหลาย 、客観性 ที่จับต้องได้、直観 สัญชาติญาณ
13.  宗教における民族の手かかるであるが、せいざんと言う視点がない。モンスーン型の稲作が人間の活動の関連で考えるべきよいうのだ  ー> 
  ใจความเกือบจะได้แต่ความหมายก็ผิดไปมาก ขาดคีย์บางตัวไป และขาดประโยคเสริมหลายประโยค ดังนี้
    哲学における民族性を理解すること手かがりにはなるであろうが、人間の経済側面、特に生産の場という視点がない。たとえば、モンスーン地域機構は、稲作という人間の生産活動との関連で考えるべきであるというのだ。
  (ทฤษฎีของวาสึจิช่วยให้เข้าใจลักษณะนิสัยของคนในการตีีความด้านปรัชญา ในด้ารเศรษฐกิจโดยเฉพาะด้านการผลิต ซึ่งไม่มีมุมมองจากด้านนี้เลย อย่างเช่น ในสภาพอากาศมรสุม การปลูกข้าวมีความเกี่ยวข้องกับมนุษย์ในกิจกรรมด้านการผลิตอย่างไร ซึ่งเป็นสิ่งที่ควรกล่าวถึงด้วย)


     แต่จากที่ฟังแล้วจดเมื่อแปลเเล้วจะได้ใจความที่ต่างไปจากเฉลยโดยสิ้นเชิง


14. คำศัพท์ใหม่ ได้แก่  滅ぼし = ทำลายล้าง 、総合作業ー> 相互作業 = งานที่ทำร่วมกัน 、絶えず= always