วันอังคารที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2553

CEFR自己評価

CEFR の自己評価

     - ที่ผ่านมาก็เคยรูปจักแค่ JLPT or J test  ซึ่งก็คิดว่ามันก้น่าจะได้มาครฐานดีอยู่แล้ว
จะเปลี่ยนมันทำไม ทั้ง JLPT เองก็เพิ่มมาเป็น 5 ระดับ จากเมื่อก่อน 4 ก็เครียดพออยู่แล้ว
มาเจอ CEFR ก็งงเป็นไก่ตาแตก โอ้มายก้อด อะไรมันจะละเอียดยิบอย่างนี้ ทำให้ได้ตระหนักถึงสิ่งที่
ไม่เคยได้ตระหนักมาก่อนว่า การเรียนภาษาไม่ใช่อะไรที่ตายตัว เราไม่สามารถกำหนดความสามารถ
ทางด้านภาษาได้ง่ายๆเหมือนกับการกำหนดความสามารถด้านคณิตสาสตร์ ฟิสิกสื หรือสาขาวิชาอื่นๆ
ทั้งนี้การเรียนภาษาอื่นที่ไม่ใช่ภาษาแม่นั้น เป็นการเรียนรุ้ตลอดชีวิต การเดินทางไปให้ถึง ความสำร็จ
แบบเจ้าของภาษาแบบเป๊ะๆนั้น ช่างห่างไกลเสียนี่กระไร 
   - เมื่อเห็นการวัดระดับทางภาษาญี่ปุ่น แบบ CEFR ก็เข้าใจได้ว่าเป็นระบบการวัดระดับภาษาในแถบยุโรป
ซึ่ง เจเอฟนำมาใช้กับภาษาญี่ปุ่น ในแคตากอรี่ของมันก็จะมี ระบบที่เรียกว่า Can do ซึ่งแบ่งเป็น 6 ระดับหลักๆ
A ระดับต้น --> A1 A2 
B ระดับกลาง --> B1 B2
C ระดับสูง (เชี่ยวชาญ) --> C1 C2 
   
   - จากการประเมิณตนเองตามแบบ CEFR
1. 理解する事 (インプット)
 聞くこと = B1 แบบว่าโดนหมดค่ะในเลเวลนี้ ทีวีรายการญี่ปุ่น วาไรตี้ืีที่ไร้สาระ ดูตลอดเวลาค่ะ และเข้าใจเป็นอย่างดี 555
         มากกว่านี้ไม่ไหวค่ะ พวกข่าวต่างๆ การประชุมฟังนานๆไม่ได้ ไปเฝ้าพระอินทร์ตลอด ไปไม่ถึงอ่ะ B2
     読むこと =   B2 ?! อันนี้ไม่แน่ใจ แต่เวลาอ่านมันก็เข้าใจนะคะ พวกนิยายสมันใหม่ต่างๆ บทความ หนังสือพิมพ์ นิตยสารก็พอได้นะ คิดว่า

2. 話すこと (アウトプット)
 やり取り = B2?! ก็เวลาคุยกะบคนฐี่ปุ่นเองก็ไม่มีปัญหาอะไรนะ นอกเสียจากเขาจะพูดเรื่องที่ เราไม่มีแบคกราวน์มาก่อนเลย เรื่องใกล้ตัวก็โอเคค่ะ

   表現 = B1 เวลาพูดแสดงความรู้สึกต่างๆบางทีก็ยังมีติดขัด คือเล่าได้แต่ต้องให้คนฟังมีความพยายามในการฟังเรื่องของเราด้วยถึงจะเข้าใจกัน

3. 書くこと (アウトプット)

書く事 = B1 ยังไม่เคยเขียนรายงานภาษาญี่ปุ่นเป็นเล่มๆขนาดนั้นจึงไม่มีความมั้นใจจะไปบี 2    

ความสามารถของตนเองในตอนนี้น่าจะอยุ่เพียง B1 จำเป็นต้องมีพัฒนาการให้มากขึ้นก่อนจบไปจากมหาวิทยาลัย
ไม่เช่นนั้นคง ลำบากต่อการแข่งขันในอนาคต 

วันอังคารที่ 7 ธันวาคม พ.ศ. 2553

タスク2 : それは秘密です

タスク2 : それは秘密です
 

  • (一回目)それは秘密です。エさんとビーさんはカップルです。えと...エさんはとても奇麗な女の人で...えと...ですが....エさんは整形美人です。そのおかげでビーさんの彼女になれる...なれました。ビーさんはやさしくて、素敵なかれしです。そして、ある日エーさんの気緩みで昔の写真が見られてしまいました。それで、大ピンチになって...なってましたが...ビーさんはそんなこと気にしなくていいのにとエーさんをさえぎってました。エーさんはとてもうれしかったがいきなりビーさんが自分の髪の毛をとって、実はそれがカツラでした。そしたら、ビーさんは僕もこんなんだしと言って、エーさんはとてもショックうけました。
     
    1. การลองเล่าเรื่องครั้งแรกเป็นไปอย่างติดขัด เพราะ ไม่รู้้ว่าจะต้องเล่าแบบไหน ก็เลยพูดไปตามภาพที่เห็นแบบเป๊ะๆ เพื่อความชัวร์ แต่กระนั้นก็ยังฟังดูแปลกหู 
    2. เกิดความสับสนในการใช้รูปไวยากรณ์อดีตและปัขขุบันกาลเมื่อต้องนำมาพูดจริง 
    3. เป้นการเล่าเรื่องแบบรวบย่อ โดยไม่ได้คำนึงถึงอรรถรส
    4. มีการเว้นเพื่อนึกอยู่นาน คำศัพท์หรือประโยคไม่สามารถพูดออกมาได้ในทันใด

    • (二回目)  この前友達からある話を聞いたんだけど、なんかすごいおもしろいだわ。あのねぇ...あるカップルがいて、女の人はびっくりするぐらい超美人なね...でも、実は整形美人だって!でも彼氏は全然そのことを知らなくて、女の人は秘密にしてたん。そしたら、ある日女の気緩みで、整形前の写真が見られてしまって、大ピンチになったの。すると、彼氏から以外な発言が出た、そんなこと気にしなくていいんだって!信じらんないよね?!女の人はすごくうれしかった。でもそれだおわりじゃないん、その時にいきなり彼氏は自分の髪の毛を取って、彼はボースだった!ずっと前からカツラかぶってた。超ショック!どっちもとてもかわいいそうだね。
     
1. ในการเขียนครั้งที่ 2 หลังจากการเรียนกับอาจารย์กนกวรรณแล้ว ก็เข้าใจว่าการเล่าเรื่องต้องเล่าให้สนุก และให้ผู้ฟังเกิดความสนใจ
                2. รู้วิธีที่จะขึ้นเรื่องและจบเรื่อง
                3. มีการใช้คำลงท้าย のมากเกินไป
                4. ใชภาษาผู้ชายผสมกับผู้หญิง
                5. มีความเป็นธรรมชาติและใส่ความรู้สึกเพิ่มอรรถรสมากขึ้น
                6. มีการใช้คำที่อาจจะไม่เหมาะสม เช่น 超
 
   

Task 1 相手はなにをしているのか?

タスクタイトル : ギタリスト (一回目)

山内修二様、

はじめまして、私は遠藤みとなと申します。突然のメール失礼いたしますが、以前、インターネットで山内様のホームページを拝見いたしまして、そこには「個人レッスン」について書いてありましたので、この事について伺いしたいと思って、メールいたしました。
私は現在、フラメンコギターを趣味でしております。今となってもう5年ほどやりつづいています。自分は将来フラメンコの伴奏家として仕事を希望していますので、山内様のような有名なギタリストから、個人レッスンをうけさせていただけると、うれしく思います。よろしければ、山内様の都合によって、レッスンをはじめたいと思っております。ご都合はいかがでしょうか?とりあえず、お返事をお待ちしております。よろしくお願いいたします。

遠藤みとな
** ไฮไลท์สีแดงคือตรงที่มันฟังดูแปลกๆ

          ในการเขียนจดหมายถึงอาจารย์สอนกีต้าร์เพื่อขอเรียนในครั้งแรกนั้น ตัวข้าพเจ้าเองก็ได้มีการเกรินนำเพื่อเข้าเรื่องตามแบบของการเขียนจดหมายญี่ปุ่นอยู่บ้าง มีการใช้ภาษาถ่อมตนและยกย่อง แต่ไม่ค่อยแน่ใจนักในเรื่องความถูกต้องในเรื่องไวยากรณ์ ขาดในเรื่องของการนึกถึงความเข้าใจของผู้อ่าน การเรียบเรียงคำถามที่อำนวยให้ผู้อ่านเข้าใจได้อย่างสะดวก และสามารถที่จะตอบกลับมาได้ตรงประเด็น
          จดหมายจึงมีเนื้อหาที่ค่อนข้างยาว และเต็มไปด้วยข้อมูลที่ไม่จำเป็นซึ่งผู้อ่านนั้นรู้อยู่แล้ว ซ้ำยังจบแบบห้วนๆ โดยที่ผู้อ่่านคงไม่เข้าใจว่าต้องการจะถามอะไรกันแน่




タスクタイトル : ギタリスト (二回目)

             山内修二様,
             
                      はじめまして、私は遠藤みとなと申します。突然のメール失礼いたします。インターネットで山内様のホームページを拝見いたしまして、個人レッスンをぜひ受けたいと思いました。レッスンをうけさせていただけるかどうかお尋ねしたいと思います。
私は5年ほど青山にあるクロ沢フラメンコギター教室の伴奏科で毎週2時間の個人レッスンを受けてきました。自分はフラメンコの伴奏家として仕事を希望していますので、山内様のような有名なギタリストから、個人レッスンを受けさせていただけると、とてもうれしく思います。
自分は月曜日から金曜日まで学校があるので、通えないと思います。土曜日または日曜日でしたら、何時でもできます。
失礼いたしますが、先生はレッスンをうけさせていただけるかどうかと月謝について、先生のご都合を知らせていただいてもよろしいでしょうか?
お返事をおまちしております。どうそよろしくおねがいいたします。

遠藤みとな

  •  二回目 เมื่อได้อ่านตัวอย่างคร่าวๆแล้ว จึงได้เห็นว่าต้องเติมข้อมูลของตัวเองให้มากขึ้นเพื่อให้ผู้อ่านได้ใช้ ประกอบการตัดสินใจ เป็นการคำนึงถึงผู้อ่านเป็นหลัก มีการตัดข้อมูลที่ไม่จำเป็นออกบ้างเพื่อความกะทัดรัดของจดหมาย
  •     มีการใช้ไวยากรณ์แบบยกย่องมากขึ้น กว่าอันแรก มีการตั้งคำถามได้อย่างละเอียดมากขึ้นทำให้ผู้อ่านทราบจุดประสงค์แต่ทั้งนี้ ไม่ได้มีการเขียนว่าจะไปถามถึงที่บ้านเจ้าตัว ตามมารยาทของคนญี่ปุ่น ซึ่งทำให้การแก้ไขยังไม่สมบูรณ์นัก
  •      การใช้ไวยากรณ์รูปอดีตหรือปัจจุบันการยังใช้ได้อย่างไม่มั่นใจนัก ต้องมีการไตร่ตรองอีกครั้งหนึ่ง



My rubric




เกณฑ์การประเมิณตนเอง


  • ฝึกการฟังโดยการ ดูข่าว รายการบันเทิงวาไรตี้ของญี่ปุ่น หรืออาจจะเป็นรายการวิทยุ หรือสาระคดีสั้นๆ แล้วจดตามเขียนออกมาเป็นสคริป อาจจะเลือรายการที่มีซับไตเติ้ลเพื่อความสะดวกในการตรวจภายหลัง แต่เวลาจดต้องปิดซับไว้  เขียนออกมาตามที่ฟังเท่าที่ทำได้ อาจจะทำซ้ำหลายๆรอบ จนกว่าจะได้สคริปที่สมบูรณ์ แล้วประเมิณดูว่าในรายการแต่ละประเภท ประเภทไหนที่เราอ่อนด้อย ฟังไม่ออก ต้องฟังหลายๆครั้งมากที่สุด แล้วฝึกฟังแล้วจดให้มากๆ
  • นอกจากฟังแล้ว ยังลิสต์คำศัพท์ วลีต่างๆที่ไม่เคยได้ยินมาก่อนแล้ว นำไปฝึกใช้ในชีวิตประจำวัน อาจจะเป็นกับเพื่อนในเอกญี่ปุ่นด้วยกัน กับคนญี่ปุ่น หรืออาจารย์ แล้วนำมาวิเคราะห์ว่าเราใช้ได้ถูกต้องแล้วหรือยัง ถ้าผิดต้องทีการแก้ไข

กณฑ์การประเมิณตนเองใหม่ NEW!!!






  • ฝึกการฟังบทความสารคดี ความยาวประมาณ 5 นาที โดยฝึกฟังโดยประมาณ 5 รอบ แล้ว จดตามความเข้าใจ ให้ได้ใจความที่ถูกต้องสมบูรณ์มากที่สุด เพื่อเป็นการฝึกการจัดลำดับความคิดที่ได้จากการฟัง เรื่องที่มีเนื้อหาค่อนไปทางวิชาการ แล้วนำมาเช็คกับเฉลยว่ามีตรงไหนที่เราจับใจความไม่ได้หรือไม่ทัน เป็นการประเมิณดูว่าเราจับใจความได้มากน้อยเพียงใด 
  • output :โดยบทความสารคดีที่หามานั้นจะได้มาจากหนังสือเรียนชื่อ国境を越えてซึ่งจะมีแบบฝึกหัดในแต่ละบทความให้เราได้ลองทำ เพื่อทดสอบความเข้าใจที่เรามีต่อบทความนั้นๆ และนอกจากนี้ยังเป็นการนำศัพท์ใหม่ที่ได้มานำมาใช้จริง และดูว่าสามารถนำมาใช้ได้อย่างถูกต้องเพียงใด การที่เราสามารถตอบคำถามในแต่ละบทความได้นั้นจะเป็นเครื่องประเมิณว่าเราเข้าใจได้มากน้อยเพียงใด โดยสามารถนำมาเช็คได้กับเฉลยที่มีไว้ให้อยุ่แล้วได้



My goal

จุดประสงค์ในการเรียนรายวิชานี้ 学習目標
  • พัฒนาทักษะการฟัง และเพิ่มคำศัพท์ให้เพิ่มมากขึ้น คำศัพท์ที่ใช้ในชีวิตประจำวัน รวมไปถึงศัพท์แสลงแปลกๆที่กำลังเป็นที่นิยม ทำให้สามารถใช้ภาษาญี่ปุ่นให้ได้เป็นธรรมชาติ ลื่่นไหลมากขึ้น  และสามารถฟังได้อย่างเข้าใจมีประสิทธิภาพมากขึ้นอย่างเช่น เวลาฟังคนญี่ปุ่นอธิบายเรื่องยาวๆ และเป็นเรื่องที่ไม่คุ้นเคย จากที่เคยต้องถามซ้ำหรือฟังหลายๆรอบกว่าจะเข้าใจ เพราะไม่รู้คำศัพท์และไม่ชิน พัฒนาให้ฟังรวดเดียวเข้าใจได้เลยไม่ว่าจะเป็นคำศัพท์แปลกๆที่ไม่ค้นเคย หรือ คำศัพท์แสลงที่เข้าใจเฉพาะคนญี่ปุ่น


自分の日本語についての弱点&強点&目標

  • จุดอ่อนและจุดแข็งของข้าพเจ้าในการเรียนภาษาญี่ปุ่น
          จุดอ่อน  
          1.ไม่สามารถที่จะพูดอธิบายได้อย่างไม่เต็มที่ในเรื่องหัวข้อวิชาการ อย่างเช่น การถกเถียงในเรื่องหัวข้อประวัติศาสตร์ การเมือง ต่างๆกับคนญี่ปุ่น ซึ่งทำให้ข้าพเจ้าขาดความมั่นใจเป็นอย่างมาก สาเหตุนั้นน่าจะเป็นทั้งการขาดความรู้รอบตัว และคำศัพท์วิชาการต่างๆเนื่องจากไม่ได้ใช้ในชีวิตประจำวัน
         2. สำเนียงเวลาพูดภาษาญี่ปุ่นที่มักจะโดนบอกเป็นประจำว่าเป็นสำเนียงที่ไม่ใช่ภาษากลาง สาเหตุน่าจะมาจาก เป็นคนไทย,ได้รับอิทธิพลจากรายการวาไรตี้ของญี่ปุ่น และการไปแลกเปลี่ยนที่จังหวัดซากะ 
        3. ไวยากรณ์ จนถึงปัจจุบันยังไม่สามารถแยกแยะสิ่งเบสิคอย่างคำช่วยต่างๆของภาษาญี่ปุ่นได้อย่างชัดเจน
        4. ภาษาสุภาพเป็นทางการที่ใช้ยกย่อง และถ่อมตน ในการทำงาน และโอกาสทางการต่างๆ ก็ใช้อย่างผิดๆถูกและมีความสับสนมาก
        5. ลายมือภาษาญี่ปุ่นแย่พอสมควร
       จุดแข็ง
 
       1. จากการดูรายการวาไรตี้ญี่ปุ่นเป็นประจำทำให้ ฟังภาษาญี่ปุ่นได้อย่างเข้าใจมากขึ้น และมีการอัพเดทข้อมูลข่าวสารอยู่เสมอ
       2. เมื่อรู้คำศัพท์แปลกๆใหม่ๆจะนำมาลองใช้อยู่เสมอโดยไม่กลัวว่าถูกหรือผิด
       3. จดจำสิ่งต่างๆได้อย่างรวดเร็วเมื่อได้นำมาใช้ผ่านประสบการณ์จริง
 
เป้าหมายในการเรียนภาษาญี่ปุ่น
  • เรียนเพื่อที่จะให้เป็นความสามารถพิเศษที่มีติดตัว
แล้วสามารถนำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ทั้งต่อตนเองและผู้อื่น
  • นำไปใช้ในชีวิตประจำวันเมื่อเกิดต้องติดต่อกับคนญี่ปุ่น
  • นำไปประยุกต์ใช้กับงานต่างๆที่อาจจะมีในอนาคต