วันอังคารที่ 14 ธันวาคม พ.ศ. 2553

CEFR自己評価

CEFR の自己評価

     - ที่ผ่านมาก็เคยรูปจักแค่ JLPT or J test  ซึ่งก็คิดว่ามันก้น่าจะได้มาครฐานดีอยู่แล้ว
จะเปลี่ยนมันทำไม ทั้ง JLPT เองก็เพิ่มมาเป็น 5 ระดับ จากเมื่อก่อน 4 ก็เครียดพออยู่แล้ว
มาเจอ CEFR ก็งงเป็นไก่ตาแตก โอ้มายก้อด อะไรมันจะละเอียดยิบอย่างนี้ ทำให้ได้ตระหนักถึงสิ่งที่
ไม่เคยได้ตระหนักมาก่อนว่า การเรียนภาษาไม่ใช่อะไรที่ตายตัว เราไม่สามารถกำหนดความสามารถ
ทางด้านภาษาได้ง่ายๆเหมือนกับการกำหนดความสามารถด้านคณิตสาสตร์ ฟิสิกสื หรือสาขาวิชาอื่นๆ
ทั้งนี้การเรียนภาษาอื่นที่ไม่ใช่ภาษาแม่นั้น เป็นการเรียนรุ้ตลอดชีวิต การเดินทางไปให้ถึง ความสำร็จ
แบบเจ้าของภาษาแบบเป๊ะๆนั้น ช่างห่างไกลเสียนี่กระไร 
   - เมื่อเห็นการวัดระดับทางภาษาญี่ปุ่น แบบ CEFR ก็เข้าใจได้ว่าเป็นระบบการวัดระดับภาษาในแถบยุโรป
ซึ่ง เจเอฟนำมาใช้กับภาษาญี่ปุ่น ในแคตากอรี่ของมันก็จะมี ระบบที่เรียกว่า Can do ซึ่งแบ่งเป็น 6 ระดับหลักๆ
A ระดับต้น --> A1 A2 
B ระดับกลาง --> B1 B2
C ระดับสูง (เชี่ยวชาญ) --> C1 C2 
   
   - จากการประเมิณตนเองตามแบบ CEFR
1. 理解する事 (インプット)
 聞くこと = B1 แบบว่าโดนหมดค่ะในเลเวลนี้ ทีวีรายการญี่ปุ่น วาไรตี้ืีที่ไร้สาระ ดูตลอดเวลาค่ะ และเข้าใจเป็นอย่างดี 555
         มากกว่านี้ไม่ไหวค่ะ พวกข่าวต่างๆ การประชุมฟังนานๆไม่ได้ ไปเฝ้าพระอินทร์ตลอด ไปไม่ถึงอ่ะ B2
     読むこと =   B2 ?! อันนี้ไม่แน่ใจ แต่เวลาอ่านมันก็เข้าใจนะคะ พวกนิยายสมันใหม่ต่างๆ บทความ หนังสือพิมพ์ นิตยสารก็พอได้นะ คิดว่า

2. 話すこと (アウトプット)
 やり取り = B2?! ก็เวลาคุยกะบคนฐี่ปุ่นเองก็ไม่มีปัญหาอะไรนะ นอกเสียจากเขาจะพูดเรื่องที่ เราไม่มีแบคกราวน์มาก่อนเลย เรื่องใกล้ตัวก็โอเคค่ะ

   表現 = B1 เวลาพูดแสดงความรู้สึกต่างๆบางทีก็ยังมีติดขัด คือเล่าได้แต่ต้องให้คนฟังมีความพยายามในการฟังเรื่องของเราด้วยถึงจะเข้าใจกัน

3. 書くこと (アウトプット)

書く事 = B1 ยังไม่เคยเขียนรายงานภาษาญี่ปุ่นเป็นเล่มๆขนาดนั้นจึงไม่มีความมั้นใจจะไปบี 2    

ความสามารถของตนเองในตอนนี้น่าจะอยุ่เพียง B1 จำเป็นต้องมีพัฒนาการให้มากขึ้นก่อนจบไปจากมหาวิทยาลัย
ไม่เช่นนั้นคง ลำบากต่อการแข่งขันในอนาคต 

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น